วันพุธที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2558

สรุปข้อมูล ส1.ส2.ส3. บ้านท่าทราาย ต.บางหลวง อ.สรรพยา จ.ชัยนาท

สรุปข้อมูล บ้านท่าทราาย ต.บางหลวง อ.สรรพยา จ.ชัยนาท กลุ่ม4

ที่มารูปภาพและเนื้อหาที่เกี่ยวกับข้อมูล 2557 
โดย นาย.ทักกมล น่วมไม้พุ่ม รหัสนักศึกษา 5511310608
วิชา ออกแบบบรรจุภัณฑ์ ARTD3301

ส.1 สืบค้น (Research)

เริ่มลงพื้นที่ สืบส้น 16 กุมพาพันธ์

ความเป็นมา
    หมู่บ้านท่าทราย ราษฎรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพหลักคือ การทำนา หลังจากฤดูทำนาแล้วทำ
ให้เกิดการวางงานซึ่งในช่วงนี้หน่วยงานราชการได้เข้ามาสนับสนุนส่งเสริมอาชีพ เช่นการ
แปรรูปและการถนอมอาหาร การจัดสาน จึงทำให้เกิดกลุ่มอาชีพในหมู่บ้าน


     
ภาพที่1: ที่ทำการกลุ่มแม่บ้านท่าทราย
(ที่มา:ทักกมล น่วมไม้พุ่ม,2557)


  รูปภาพที่:2 สอบถามข้อมูล ความต้องการของผู้ประกอบการ
(ที่มา:ทักกมล น่วมไม้พุ่ม,2557)

           สอบถามข้อมูลในส่วนความต้องการของผู้ประกอบการ
เกี่ยวกับสิ้นค้า บรรจุภํณฑ์ และผลิตภัณฑ์ในส่วนที่เป็นปัญหาแนวทางแก้ไขปํญหา เพื่อเพื่อเติมส่วนที่เหลือให้พัฒนาขึ้น
         
 ภาพที่3:ใบประกาศที่ได้รับรองมาตรฐาน
(ที่มา:ทักกมล น่วมไม้พุ่ม,2557)

       เป็นหลักฐานที่จะบ่งบอกความปลอดภัย ที่ผ่านการตรวจสอบแล้ว
เพื่อเพิ่มความมั่นใจกับผู้ที่สนใจ ที่ใช้ผลิตภัณฑ์

 Moodboardส.1

                            
                                      ภาพที่3: Moodboard เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติงานเพื่อนำไปผลิตเป็นผลิตภัณฑ์จริง
                                                                                           (ที่มา:ทักกมล น่วมไม้พุ่ม,2557)

สถานะของผลิตภัณฑ์ : เป็นแชมพูและครีมนวดผมที่มีสถานะเป็นของเหลว
ลักษณะของผลิตภัณฑ์ : เป็นขวดทรงแบนสูง มีขนาดกว้าง x สูง = 6.5 x 17 cm.
ราคาสินค้า 1 ขวดต่อ 40 บาท / 1 โหล 12 ขวด / 650 บาท คิดเป็นราคาขวดละ 54.16 บาท
Concept : มีแนวคิดในการออกแบบพัฒนาให้ดีขึ้นกว่าเดิม โดยการปรับเปลี่ยนโลโก้ให้ดูไปในทิศทางเดียวกัน
กับบรรจุภัณฑ์ การเปลี่ยนภาพประกอบให้สื่อถึงตัวสินค้าได้ชัดเจนมากขึ้น ปรับเปลี่ยนฟอนต์ให้ถูกลิขสิทธิ์
ลักษณะผลิตภัณฑ์ : เป็นประเภทเครื่องสำอางประเภทแชมพูและผสมสมุนไพรประคำดีควาย อัญชันและว่านหางจระเข้ และรูปแบบของโลโก้เป็นโลโก้ในรูปของดอกบัว 3 ดอกที่สื่อถึงบ้านท่าทราย พร้อมมีสัญลักษณ์ตัว ® 
แสดงถึงเครื่องหมายการค้าที่จดทะเบียนอย่างถูกต้องแล้ว
ข้อเสียบรรจุภัณฑ์ : การใช้ภาพประกอบที่สื่อทางด้านสินค้าไม่ชัดเจน พร้อมทั้งตังอักษรและสีที่ใช้สำหรับตัวอักษร วัน/เดือน/ปีที่ผลิตไม่ได้ระบุไว้อย่างชัดเจน ฟอนต์ที่ได้ใช้ไม่ได้เป็นของเจ้าของทางผลิตภัณฑ์โดยตรง

ข้อมูลเบื้องต้นของผู้ประกอบการ
 ชื่อประธานกลุ่มเจ้าของกิจการผู้มีอำนาจตัดสินใจ นางปาน  เอี่ยมสุภา  (Pan Iamsupa)
 ตำแหน่ง: ประธานกลุ่ม
 ผลิตโดย กลุ่มแม่บ้านท่าทราย เลขที่ 169 หมู่ 1 ต. บางหลวง อ.สรรยา จ. ชัยนาท 17150
 เบอร์โทรศัพท์ : 0 5 640 1004, 08 1887 2459 
 ID Line: paniamsupa 
 วิธีการติดต่อ/สื่อสารที่สะดวก :  โทรศัพท์


ผลงานของ
  - รางวัลกลุ่มแม่บ้านดีเด่นระดับจังหวัดระดับภาคและระดับประเทศ
  - รางวัลผู้นำอาสาพัฒนาชุมชนดีเด่น
  - รางวัลผู้นำอาชีพก้าวหน้าดีเด่น
  - รางวัลผู้หญิงเก่ง ,รางวัลสตรีมีบทบาทดีเด่น



ข้อมูลเบื้องต้นผลิตภัณฑ์
-              ชื่อสินค้า : ครีมอาบน้ำผสมขมิ้น
-               ประเภทสินค้า : สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร
-              สถานะผลิตภัณฑฑ์ : ของเหลว
-               สีของผลิตภัณฑ์ : เหลืองใส 
-               ส่วนผสมหลัก : ขมิ้น (Turmeric)
-              วิธีใช้ผลิตภัณฑ์ : เทครีมสมุนไพรขมิ้นลงบนฝ่ามือลูบไล้ให้เกิดฟองครีมให้ทั่วใบหน้าและ
ผิวกายและล้างออก
-              สรรพคุณ : ถนอมผิว เพิ่มความนุ่มเนียนผิว คงความชุ่มชื่นต่อผิว ผิวจะขาวเนียนและชุ่มชื่น
ตลอดวัน
-              ผลิตโดย : กลุ่มแม่บ้านท่าทราย เลขที่ 169 หมู่ 1 ตำบลบางหลวง อำเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท    รหัสไปรษณีย์ 17150
-              เบอร์ติดต่อ: 0 5 640 1004, 08 1887 2459 
-              ปริมาณสุทธิ : 280 มิลลิลิตร
รูปแบบการจำหน่าย:
            - จำหน่าย ณ ที่ทำการกลุ่มแม่บ้านท่าทราย
            - จำหน่ายร้านค้าทั่วไปภายในจังหวัดชัยนาท: ร้านค้า CEO ชัยนาท 3 สาขา คือ
              1. ข้างศาลากลางจังหวัดชัยนาท
              2. หน้าสวนนกชัยนาท 
              3. ศูนย์บริการทางหลวง กิโลเมตรที่ 185
            - จำหน่ายตามสั่งซื้อทาง รสพ. และพัสดุไปรษณีย์
            - ออกร้านตามงานสำคัญต่างๆ ที่หน่วยงานราชการ/เอกชนจัดขึ้น
ราคาจำหน่ายสินค้า/หน่วย: 
            - ขายส่ง 40 บาท ณ ที่ทำการกลุ่มแม่บ้านท่าทราย
            - ขายปลีก 50 บาท ตามร้านค้าทั่วไปในจังหวัดชัยนาท

โครงสร้างหลักของบรรจุภัณฑ์
-              เทคนิดการบรรจุ : บรรจุในขวด
-                ขนาด : เส้นผ่าศูนย์กลาง 7 ซม. สูง 17.5 ซม. 
-              สีบรรจุภัณฑ์ : ขวดสีส้มนวล, ฝาสีขาว
  -     ฟอนต์: โลโก้ JasmineUPC , ชื่อสินค้า  Angsana New Bold Italic,
         ข้อมูลตัวสินค้า  Angsana New Bold
  -      การขึ้นรูปทรง : ฝาทรงกระบอก ขวดทรงแบนสูง
  -     ระบบการพิมพ์ : ซิลค์สกรีน
  -     สี/จำนวนสีที่พิมพ์ : สีแดง (พิมพ์สีเดียว)


การออกแบบกราฟิก
-              ภาพประกอบ  :  ภาพดอกบัว 3 ดอก
-              ลวดลาย  :  มีข้อความประกอบสรรพคุณ วิธีใช้
-              แบบอักษรที่ใช้  :  (ฉลากหน้า,ฉลากหลัง)
1. ฉลากด้านหน้า
- บ้านท่าทราย
- ครีมอาบน้ำผสมขมิ้น
2. ฉลากูด้านหลัง
- สรรพคุณ , วิธีใช้ ,ผลิตโดย
- และปริมาณสุทธิ

ส.2 สมมุติฐาน(Resume)

สร้างสรรค์ผลงาน ตามสสมุติฐาน

  เป็นผลิตภัณฑ์บ้านท่าทราย ที่ต้องนำมาแก้ไขในส่วนของภาพประกอบและสีสันเพิ่มเข้าไปให้งานดูน่าดึงดูดสายตาต่อผู้พบเห็น

ภาพที่4:แชมพูผสมสมุนไพรประคำดีควาย
(ที่มา:ทักกมล น่วมไม้พุ่ม,2557)

    การสร้างสรรค์ผลงานในการออกแบบบรรจุภัณฑ์ เพื่อต่อยอดและพัฒนาผลิตภัณฑ์ของชุมชนจากบรรจุภัณฑ์เดิมให้ดียิ่งขึ้นโดยการลงพื้นที่และการสอบถามข้อมูลต่างๆภายในโรงงานเพื่อทราบถึงปัญหาและความต้องการในบรรจุภัณฑ์ของกลุ่มแม่บ้านท่าทราย อำเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท

ปัญหาที่พบในบรรจุภัณฑ์ก็คือ


1.สีสันและลวดลายบนบรรจุภัณฑ์ไม่สวยงามและไม่สะดุดตามากพอต่อผู้บริโภค
2.รูปภาพบนบรรจุภัณฑ์่ที่สื่อถึงดอกอัญชันและว่านหางจระเข้ไม่มีความทันสมัยมากเมื่อเทียบเท่ากับ ปัจจุบัน
3.ฟอนต์ที่ใช้ไม่ได้ซื้อลิขสิทธิ์มาอย่างถูกต้องอาจถูกฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายด้านการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา
4. บรรจุภัณฑ์เป็นการพิมพ์แบบสกรีนลงบนขวด ซึ่งต้องสั่งทำในปริมาณมากไม่สามารถทำครั้งละน้อยได้
5. ตัวอักษรทีใส่สกรีนลงบนบรรจุภัณฑ์ไม่คงทน หลุดลอกได้ง่าย
6. วัน เดือน ปีที่ผลิตไม่ได้ระบุไว้อย่างชัดเจน

โลโก้บ้านท่าทราย


                                                                            ภาพที่5:โล้โก้บ้านทราทราย
                                                                          (ที่มา:ทักกมล น่วมไม้พุ่ม,2557)

โลโก้บ้านท่าทรายที่ปรับเปลี่ยน 
เป็นสสมุติฐาน ที่สร้างสรรค์ แต่ไม่ให้เปลี่ยนโล้โก้บ้านท่าทรายจริงๆ
ภาพที่6:โล้โก้บ้านทราทรายที่ได้ปรับเปลี่ยน
(ที่มา:ทักกมล น่วมไม้พุ่ม,2557)


            ได้ปรับเปลี่ยนโลโก้เดิม คือการนำ นำสีเข้ามาใส่ตรงกรอบ สามสี คือสีเขียว คือว่านหางจระเข้ สีม่วงคืออันชัน และสีน้ำตาลสีของเมล็ดประคำดีควาย ตราเครื่องหมายการค้าที่จดทะเบียนอย่างถูกต้องแล้วมาใส่ในกรอบโลโก้บ้านท่าทรายด้านซ้าย เพื่อให้โลโก้และเครื่องหมายการค้ามีความสอดคล้องเป็นอันเดียวกัน อีกทั้งยังได้เปลี่ยนแบบฟอนต์เพื่อกันฟอนต์ที่ใช้ไม่ได้ซื้อลิขสิทธิ์มาอย่างถูกต้องอาจถูกฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายด้านการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา โดยการใช้ฟอนต์ตระกูล TH หรือ CRU ในการปรับเปลี่ยนครั้งนี้จึงได้เลือกใช้ฟอนต์ CRU-LanChand


ตัวอย่างศูตรแชมพูสมุนไพรผสมประคำดีควาย อันชัน และ ว่านหางจระเข้ ทั้ง3 สูตร
Font ที่ใช้ TS-kaewPet-NP

  
ภาพที่7: Packageรวม
(ที่มา:ทักกมล น่วมไม้พุ่ม,2557)

 ภาพที่8: Packageสูตรอันชัน
(ที่มา:ทักกมล น่วมไม้พุ่ม,2557)
  ภาพที่9: Packageสูตรประคำดีควาย
(ที่มา:ทักกมล น่วมไม้พุ่ม,2557)

 ภาพที่10: Packageสูตรว่านหางจระเข้
(ที่มา:ทักกมล น่วมไม้พุ่ม,2557)


 ภาพที่11:สติกเกอร์สมุนไพรทั้ง3สูตร
(ที่มา:ทักกมล น่วมไม้พุ่ม,2557)

แบบSketch

 ภาพที่12: Sketch แชมพู
(ที่มา:ทักกมล น่วมไม้พุ่ม,2557)


 ภาพที่13: ด้านของผลิตภัณฑ์ที่ออกแบบทั้งสามสูตร
(ที่มา:ทักกมล น่วมไม้พุ่ม,2557)


 Moodboardส.2


ภาพที่15:  Moodboardส.2
(ที่มา:ทักกมล น่วมไม้พุ่ม,2557)
Visual Analysis
ภาพที่14: Visual Analysis
(ที่มา:ทักกมล น่วมไม้พุ่ม,2557)

หมายเลข 1 คือ โครงสร้างของบรรจุภัณฑ์ในที่นี้คือวัสดุที่เป็นขวด PET
หมายเลข 2 คือ ตัวผลิตภัณฑ์
หมายเลข 3 คือ เทคนิคการเปิดโครงสร้าง Seal or Enclosure Technic
หมายเลข 4 คือ ข้อความบ่งชี้-ยี่ห้อ
หมายเลข 5 คือ ข้อวามบ่งชี้ชนิดสินค้า-และสัญลักษณ์ สินค้า
หมายเลข 6 คือ สื่อรูปภาพ-กราฟฟิก-ประกอบสื่อความหมายรวม
หมายเลข 7 คือ ข้อวามบ่งชี้ชนิดสินค้า
หมายเลข 8 คือ ชื่อผลิตภัณฑ์
หมายเลข 9 คือ คำโฆษณา-ความน่าสนใจของสินค้า
หมายเลข 10 คือ ข้อความบ่งชี้-วิธีใช้
หมายเลข 11 คือ ข้อมูลแจ้ส่วนประกอบสินค้า
หมายเลข 12 คือ ข้อความบ่งชี้-สถานที่ผลิต
หมายเลข 12 คือ ข้อความบ่งชี้-วันเดือนปี


ส.3สรุปผล( Result )


สรุปผลการออกแบบ

เปรียบการออกแบบกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์


ภาพที่16: แชมพูบ้านท่าทราย
(ที่มา:ทักกมล น่วมไม้พุ่ม,2557)


         ภาพที่17: แชมพูบ้านท่าทรายที่ออกแบบใหม่
           (ที่มา:ทักกมล น่วมไม้พุ่ม,2557)


 ภาพที่18: ด้านหลังกล่องบรรจุภัณฑ์ที่ออกแบบ
(ที่มา:ทักกมล น่วมไม้พุ่ม,2557)


ภาพที่19: ด้านหน้ากล่องบรรจุภัณฑ์ที่ออกแบบ
            (ที่มา:ทักกมล น่วมไม้พุ่ม,2557)


 Moodboardส.3


ภาพที่20:  Moodboardส.3
            (ที่มา:ทักกมล น่วมไม้พุ่ม,2557)

Final

สรุปผลการออกแบบเพื่อพัฒนา




 ภาพที่21:  แสดงผลงานการออกแบบบรรจุภัณฑ์
            (ที่มา:ทักกมล น่วมไม้พุ่ม,2557)

  
ภาพที่22:  Moodboard แสดงผลงานการออกแบบบรรจุภัณฑ์
            (ที่มา:ทักกมล น่วมไม้พุ่ม,2557)


ภาพที่23:   ตรวจผลงานการออกแบบบรรจุภัณฑ์
            (ที่มา:ทักกมล น่วมไม้พุ่ม,2557)


 ภาพที่24:  ถ่ายรูปกับงาน
    (ที่มา:ทักกมล น่วมไม้พุ่ม,2557)


 ภาพที่24:  ถ่ายรูปกับงาน

    (ที่มา:ทักกมล น่วมไม้พุ่ม,2557)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น